พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เหรียญเจ้าประคุ...
เหรียญเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม หลวงปู่นาคสร้าง ปี 2499
เหรียญเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม หลวงปู่นาคสร้าง ปี 2499
ลักษณะเหรียญอาร์มรูปสมเด็จโตนั่งบริกรรมคาถา มีตัวหนังสือ เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม ล้อมรอบเหรียญด้านหน้า ด้านหลังเป็นยันต์พุฒซ้อน คาถาเรียกโชคลาภให้สำเร็จ "สัพพลาภา ประสิทธิเม " สร้างในคราว ร.9 ฉลองทรงผนวชในปีนั้น เหรียญแท้ ตัวจริง เสียงจริง เข้มขลังครบถ้วน พิธีดี สายวัดระฆัง พุทธคุณไม่ต้องบรรณยา ครอบจักรวาล พุทธคุณเท่ากับเหรียญหลักล้านแน่นนอน

หลวงปู่นาคเป็นศิษย์เกจิเรื่องนามยุคเก่าทั้ง 4 รูป ได้แก่
สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ฤทธิ์) วัดแจ้ง
สมเด็จ พระสังฆราช(แพ) วัดสุทัศน์ราชวรวิหาร
สมเด็จ พระสังวรนุวงศ์เถร(ชุ่ม) วัดราชสิทธาราม(วัดพลับ)
สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ม.ร.ว.เจริญ อิศรางกุล ณ อยุธยา)

หลวงปู่นาค โสภโณ วัดระฆังโฆสิตาราม – พระเทพสิทธินายก หรือ หลวงปู่นาค โสภโณ อดีตเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ พระเกจิชื่อดังรูปหนึ่ง ที่ชาวเมืองกรุงให้ความเลื่อมใสศรัทธา และรู้จักชื่อเสียงของท่านเป็นอย่างดี

ท่านจัดสร้างพระเครื่องวัตถุมงคลมากมาย อาทิ พระเนื้อผงพิมพ์สมเด็จ และ เหรียญวัตถุมงคล

มีนามเดิมว่า นาค มะเริงสิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 ส.ค.2427 ที่บ้านปราสาท ต.เมืองปราสาท อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา บิดา-มารดา ชื่อ นายป้อม และ นางสงวน มะเริงสิทธิ์

ตอนวัยเด็กก็เหมือนกับลูกชาวบ้านทั้งหลายที่เจริญวัยขึ้นมา ต้องหาความรู้ใส่ตัวเพื่อเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูล แต่โคราชยังไม่มีโรงเรียนเกิดขึ้น มีแต่วัดวาอารามเท่านั้น พ่อแม่จึงส่งบุตรชายมาฝากไว้กับพระครูสังฆ วิจารย์ (มี) ซึ่งเป็นลุงของท่านที่วัดบึง ใกล้ประตูชุมพล ซึ่งท่านสั่งสอนวิชาให้ตามสมควร

อายุ 13 ปี บรรพชา เมื่อปี พ.ศ.2440 ที่วัดบึง ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา โดยมี พระครูสังฆวิจารย์ (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์

ด้วยความเป็นคนฉลาดเล่าเรียนเก่ง พระอาจารย์ที่เป็นครูสั่งสอนภาษาบาลีและภาษาไทย จึงแนะแนวทางให้เดินทางเข้ามาศึกษาต่อในสำนักเรียนในกรุงเทพฯ เพื่อความเจริญรุ่งเรืองต่อไป

เดินทางเข้ากรุงเทพฯ โดยกองคาราวานวัว มีผู้ร่วมเดินทางประมาณ 30 คน เดินทางจากโคราชรอนแรมมาเป็นเวลาแรมเดือน จนถึงกรุงเทพฯ โดย พระน้าชาย นำสามเณรนาค ฝากไว้กับพระอาจารย์เลื่อม พระลูกวัดระฆังโฆสิตาราม ซึ่งกุฏิของท่านอยู่หน้าวัดใกล้ปากคลอง (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งโรงเรียนสตรีวัดระฆัง)

พระธรรมไตรโลกาจารย์ ซึ่งต่อมาเป็น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (มร.ว.เจริญ อิศรางกูร) เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด รับไว้ในอุปการะ

อายุ 15 ปี เล่าเรียนภาษาบาลีมีความรู้ถึงขั้นเข้าแปล บาลีเปรียญธรรม 3 ประโยคเป็นครั้งแรกต่อหน้าพระที่นั่ง โดยมีพระเถระทรงสมณศักดิ์หลายรูปเป็นกรรมการฝ่ายสงฆ์ ผลปรากฏว่าสอบแปลด้วยปากได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ได้รับพระราชทานไทยธรรมเครื่อง อัฐบริขาร จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

พ.ศ.2448 พยายามศึกษาเล่าเรียนต่อ ปรากฏว่าสอบไล่ได้เปรียญธรรม 4 ประโยค โดยการแปลด้วยปาก ซึ่งเป็นการยากสำหรับยุคนั้น

อายุ 21 ปี เข้าพิธีอุปสมบทที่พัทธสีมา วัดระฆังโฆสิตาราม มี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์) วัดอรุณราชวราราม เป็นพระอุปัชฌาย์, สมเด็จพระวันรัต (ฑิต) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระธรรมโกศาจารย์ (แพ) วัดสุทัศนเทพวราราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ม.ร.ว.เจริญ) เป็นผู้บอกอนุศาสน์ พระอุปัชฌาย์ให้นามฉายาว่า “โสภโณ”

พ.ศ.2449 เข้าสอบแปลเปรียญธรรม 5 ประโยค แต่ไม่ได้เข้าสอบเปรียญธรรมต่อถึงประโยค 6 เหตุที่ท่านมีภารกิจเป็นผู้รับใช้ ใกล้ชิดถวายงานวัดให้สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ เจ้าอาวาส

ระหว่างที่ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมบาลี หาเวลาไปศึกษาทางวิปัสสนากัมมัฏฐานเพิ่มเติมกับพระอาจารย์ที่วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) และวัดราชสิทธาราม (วัดพลับ) ลงมือปฏิบัติจิตตภาวนาอย่างเคร่งครัด โดยเพียรพยายามศึกษาและฝึกปฏิบัติอยู่นานถึง 10 ปี สามารถทำมูลกัมมัฏฐานเป็นฌานวิปัสสนา

พ.ศ.2484 สร้างวัตถุมงคลพระสมเด็จขึ้นมา โดยอาศัยตำราของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ระหว่างนั้นเป็นเวลาที่บ้านเมืองเกิดสงครามเอเชียบูรพา ท่านจึงได้แจกจ่ายพระสมเด็จดังกล่าวให้ทหารติดตัวไปในสมรภูมิ เพื่อเป็นการบำรุงขวัญและกำลังใจแก่ทหารอีกส่วนหนึ่งด้วย พระสมเด็จที่หลวงปู่นาคจัดสร้างขึ้นครั้งนั้น และที่สร้างขึ้นในรุ่นต่อมา ปรากฏว่า ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ปรากฏเกียรติคุณในวงการพระเครื่อง ตลอดจนถึงทุกวันนี้

ลำดับงานปกครอง พ.ศ.2467 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม พ.ศ.2468 เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2464 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระธรรมกิติ วันที่ 6 พ.ย.2474 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชโมลี

วันที่ 5 ธ.ค.2500 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพสิทธินายก

มรณภาพอย่างสงบ ด้วยโรคชราที่ โรงพยาบาลศิริราช ธนบุรี เมื่อวันศุกร์ที่ 15 ม.ค.2514 เวลา 04.45 น. สิริอายุ 87 ปี พรรษา 66


ประวัติพระเครื่องหลวงปู่นาค โสภโณ
สำหรับการเรียนเวทย์มนต์และวิปัสสนากรรมฐานนั้น ท่านได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์และศึกษากับ ๔ สมเด็จ ดังนี้

สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ฤทธิ์) วัดแจ้ง (ปัจจุบันเรียกว่า “วัดอรุณราชวรวิหาร”) ผู้เป็น อุปัชฌาย์ของหลวงปู่นาคนั่นเอง ท่านมีอาคมแก่กล้าในด้านทำเครื่องรางของขลัง โดยเฉพาะตะกรุดหน้าผากเสือ สำนักนี้ไม่เป็นสองรองใคร ครั้นพอท่านเรียนวิชานี้สำเร็จ การจะหาหนังเสือมาทำนั้นต้องไปฆ่าสัตว์ตัดชีวิตซึ่งมันบาปนัก ท่านจึงนำมาดัดแปลงลงในโลหะต่างๆ เช่น ทองคำ เงิน นาค ทองแดง อลูมิเนียมและตะกั่ว ลักษณะการลงและบริกรรมคาถากำกับในตัวตระกรุด ท่านก็จะทำไว้ให้มีฤทธิ์อยู่หลายแบบ เช่นดอกนั้นเด่นด้านคงกระพัน ดอกนี้เด่นด้านค้าขาย เมตามหานิยม ดอกนู้นเน้นด้านมหาอุต ซึ่งในสมัยนั้นใครที่เข้าไปขอ ท่านก็จะเมตตาหยิบให้พร้อมอธิบายวิธีการใช้ให้
(สำหรับวัดแจ้งหรือวัดอรุณนี้ จะมีอ้างในส่วนของ ตอนที่๓:พระพิมพ์ในวัดแต่มีออกนอกวัด)

๒.สมเด็จ พระสังฆราช(แพ) วัดสุทัศน์ราชวรวิหาร สมัยนั้น ดำรงค์สมณศักดิ์เป็นพระธรรมโกษาจารย์ ซึ่งเป็นพระอนุสาวนาจารย์(พระคู่สวด)ในสมัยที่หลวงปู่นาคบวชเป็นพระภิษุนั่น เอง หลวงปู่นาคได้รับการถ่ายทอดและศึกษาวิชาการลงยันต์ ๑๐๘ ชนิดครบสูตรในการลงยันต์เททองพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ ซึ่งเป็นตำหรับวิชาสุดยอดของการสร้างพระกริ่งในสายวัดสุทัศน์นี้
(สำหรับ วัดสุทัศน์ หากตามประวัติจะทราบว่า หลวงปู่นาคท่านจะสนิทกับพระครูมูล ซึ่งโยงถึงกันได้ว่าเป็นศิษย์ร่วมรุ่นเดียวกันนั่นเอง เกจิ ๒ ท่านนี้ไปมาหาสู่กันบ่อยครั้งครับ จึงไม่แปลกที่พระสมเด็จของพระครูมูลถึงได้มีมวลสารพระสมเด็จเก่าของวัดระฆัง ไปผสมกันเป็นจำนวนมาก และบางครั้งก็พบว่าพิมพ์สมเด็จมีหน้าตาและพิมพ์พระเกศบัวตูมของพระครูมูลมี มาปรากฎในแบบแม่พิมพ์ที่หลวงปู่นาคท่านกดพระด้วยครับ จะมีไปขยายความกันในตอนที่๓:พระใน-นอก พิมพ์)

๓.สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ม.ร.ว.เจริญ อิศรางกุล ณ อยุธยา) ในสมัยที่ท่านดำรงสมณศักดิ์เป็น พระธรรมไตรโลกาจารย์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆัง สืบต่อจากสมเด็จพระพุทธบาทปิลันท์ (ม.ร.ว.ทัศน์ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา)
เป็น ที่ทราบกันดีอยู่แล้วนะครับว่า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ) ท่านเป็นศิษย์องค์สุดท้ายของสมเด็จพุทธจารย์โต ในสมัยบั้นปลายชีวิตสมเด็จโต สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ) ท่านได้เรียนสำเร็จวิชาการทำผงวิเศษจากสมเด็จโตและเป็นกำลังสำคัญในการลบและ จัดทำผงวิเศษทั้ง๕ชนิด เพื่อถวายให้สมเด็จโตสร้างพระวัดระฆังฯรุ่นแรก มาถึงยุคที่ท่านเป็นพระอาจารย์ให้หลวงปู่นาค ท่านก็สอนการทำผงนี้ให้จนสำเร็จครบหลักสูตรเช่นกัน ดังนั้นพระสมเด็จที่หลวงปู่นาคท่านสร้างจึงเป็นพระที่มีสูตรการสร้างเหมือน กับพระสมเด็จวัดระฆังรุ่นแรกนั่นเอง

๔.สมเด็จ พระสังวรนุวงศ์เถร(ชุ่ม) วัดราชสิทธาราม(วัดพลับ) เกจิท่านี้เป็นอาจารย์สอนวิปัสสนาให้กับหลวงพ่อพริ้ง วัดบางประกอกนั่นเอง หลวงปู่นาคก็ได้มาเรียนวิปัสสนากรรมฐานที่สำนักนี้จนสำเร็จเช่นกัน
หลังจากที่ สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ (เจริญ) ท่านมรณภาพแล้ว หลวงปู่นาคก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส วัดระฆังโฆษิตาราม องค์ที่๙

ผู้เข้าชม
71 ครั้ง
ราคา
7,500
สถานะ
เปิดให้บูชา
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
kochalermpol
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ม่อน นครนนท์ยอด วัดโพธิ์ภูมิ IRบ้านพระหลักร้อยยุ้ย พลานุภาพkumpha
yuttaphoom.cponsrithong2เมสุ ปัง พระเครื่องsomyongพรรษาบ้านพระสมเด็จ
somemanvaravetfuchoo18A ห้วยขวางปาล์ม บารมีเครื่องรางชาวานิช
Erawanโกหมูnattapolmaximum9เปียโนเทพนิมนต์
Songบางพลีep8600hoppermanปลั๊ก ปทุมธานีพระคุ้มครองbow-bangkapi

ผู้เข้าชมขณะนี้ 630 คน

เพิ่มข้อมูล

เหรียญเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม หลวงปู่นาคสร้าง ปี 2499




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
เหรียญเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม หลวงปู่นาคสร้าง ปี 2499
รายละเอียด
เหรียญเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม หลวงปู่นาคสร้าง ปี 2499
ลักษณะเหรียญอาร์มรูปสมเด็จโตนั่งบริกรรมคาถา มีตัวหนังสือ เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิตาราม ล้อมรอบเหรียญด้านหน้า ด้านหลังเป็นยันต์พุฒซ้อน คาถาเรียกโชคลาภให้สำเร็จ "สัพพลาภา ประสิทธิเม " สร้างในคราว ร.9 ฉลองทรงผนวชในปีนั้น เหรียญแท้ ตัวจริง เสียงจริง เข้มขลังครบถ้วน พิธีดี สายวัดระฆัง พุทธคุณไม่ต้องบรรณยา ครอบจักรวาล พุทธคุณเท่ากับเหรียญหลักล้านแน่นนอน

หลวงปู่นาคเป็นศิษย์เกจิเรื่องนามยุคเก่าทั้ง 4 รูป ได้แก่
สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ฤทธิ์) วัดแจ้ง
สมเด็จ พระสังฆราช(แพ) วัดสุทัศน์ราชวรวิหาร
สมเด็จ พระสังวรนุวงศ์เถร(ชุ่ม) วัดราชสิทธาราม(วัดพลับ)
สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ม.ร.ว.เจริญ อิศรางกุล ณ อยุธยา)

หลวงปู่นาค โสภโณ วัดระฆังโฆสิตาราม – พระเทพสิทธินายก หรือ หลวงปู่นาค โสภโณ อดีตเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ พระเกจิชื่อดังรูปหนึ่ง ที่ชาวเมืองกรุงให้ความเลื่อมใสศรัทธา และรู้จักชื่อเสียงของท่านเป็นอย่างดี

ท่านจัดสร้างพระเครื่องวัตถุมงคลมากมาย อาทิ พระเนื้อผงพิมพ์สมเด็จ และ เหรียญวัตถุมงคล

มีนามเดิมว่า นาค มะเริงสิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 ส.ค.2427 ที่บ้านปราสาท ต.เมืองปราสาท อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา บิดา-มารดา ชื่อ นายป้อม และ นางสงวน มะเริงสิทธิ์

ตอนวัยเด็กก็เหมือนกับลูกชาวบ้านทั้งหลายที่เจริญวัยขึ้นมา ต้องหาความรู้ใส่ตัวเพื่อเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูล แต่โคราชยังไม่มีโรงเรียนเกิดขึ้น มีแต่วัดวาอารามเท่านั้น พ่อแม่จึงส่งบุตรชายมาฝากไว้กับพระครูสังฆ วิจารย์ (มี) ซึ่งเป็นลุงของท่านที่วัดบึง ใกล้ประตูชุมพล ซึ่งท่านสั่งสอนวิชาให้ตามสมควร

อายุ 13 ปี บรรพชา เมื่อปี พ.ศ.2440 ที่วัดบึง ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา โดยมี พระครูสังฆวิจารย์ (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์

ด้วยความเป็นคนฉลาดเล่าเรียนเก่ง พระอาจารย์ที่เป็นครูสั่งสอนภาษาบาลีและภาษาไทย จึงแนะแนวทางให้เดินทางเข้ามาศึกษาต่อในสำนักเรียนในกรุงเทพฯ เพื่อความเจริญรุ่งเรืองต่อไป

เดินทางเข้ากรุงเทพฯ โดยกองคาราวานวัว มีผู้ร่วมเดินทางประมาณ 30 คน เดินทางจากโคราชรอนแรมมาเป็นเวลาแรมเดือน จนถึงกรุงเทพฯ โดย พระน้าชาย นำสามเณรนาค ฝากไว้กับพระอาจารย์เลื่อม พระลูกวัดระฆังโฆสิตาราม ซึ่งกุฏิของท่านอยู่หน้าวัดใกล้ปากคลอง (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งโรงเรียนสตรีวัดระฆัง)

พระธรรมไตรโลกาจารย์ ซึ่งต่อมาเป็น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (มร.ว.เจริญ อิศรางกูร) เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด รับไว้ในอุปการะ

อายุ 15 ปี เล่าเรียนภาษาบาลีมีความรู้ถึงขั้นเข้าแปล บาลีเปรียญธรรม 3 ประโยคเป็นครั้งแรกต่อหน้าพระที่นั่ง โดยมีพระเถระทรงสมณศักดิ์หลายรูปเป็นกรรมการฝ่ายสงฆ์ ผลปรากฏว่าสอบแปลด้วยปากได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ได้รับพระราชทานไทยธรรมเครื่อง อัฐบริขาร จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

พ.ศ.2448 พยายามศึกษาเล่าเรียนต่อ ปรากฏว่าสอบไล่ได้เปรียญธรรม 4 ประโยค โดยการแปลด้วยปาก ซึ่งเป็นการยากสำหรับยุคนั้น

อายุ 21 ปี เข้าพิธีอุปสมบทที่พัทธสีมา วัดระฆังโฆสิตาราม มี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์) วัดอรุณราชวราราม เป็นพระอุปัชฌาย์, สมเด็จพระวันรัต (ฑิต) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระธรรมโกศาจารย์ (แพ) วัดสุทัศนเทพวราราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ม.ร.ว.เจริญ) เป็นผู้บอกอนุศาสน์ พระอุปัชฌาย์ให้นามฉายาว่า “โสภโณ”

พ.ศ.2449 เข้าสอบแปลเปรียญธรรม 5 ประโยค แต่ไม่ได้เข้าสอบเปรียญธรรมต่อถึงประโยค 6 เหตุที่ท่านมีภารกิจเป็นผู้รับใช้ ใกล้ชิดถวายงานวัดให้สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ เจ้าอาวาส

ระหว่างที่ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมบาลี หาเวลาไปศึกษาทางวิปัสสนากัมมัฏฐานเพิ่มเติมกับพระอาจารย์ที่วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) และวัดราชสิทธาราม (วัดพลับ) ลงมือปฏิบัติจิตตภาวนาอย่างเคร่งครัด โดยเพียรพยายามศึกษาและฝึกปฏิบัติอยู่นานถึง 10 ปี สามารถทำมูลกัมมัฏฐานเป็นฌานวิปัสสนา

พ.ศ.2484 สร้างวัตถุมงคลพระสมเด็จขึ้นมา โดยอาศัยตำราของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ระหว่างนั้นเป็นเวลาที่บ้านเมืองเกิดสงครามเอเชียบูรพา ท่านจึงได้แจกจ่ายพระสมเด็จดังกล่าวให้ทหารติดตัวไปในสมรภูมิ เพื่อเป็นการบำรุงขวัญและกำลังใจแก่ทหารอีกส่วนหนึ่งด้วย พระสมเด็จที่หลวงปู่นาคจัดสร้างขึ้นครั้งนั้น และที่สร้างขึ้นในรุ่นต่อมา ปรากฏว่า ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ปรากฏเกียรติคุณในวงการพระเครื่อง ตลอดจนถึงทุกวันนี้

ลำดับงานปกครอง พ.ศ.2467 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม พ.ศ.2468 เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

ลำดับสมณศักดิ์ พ.ศ.2464 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระธรรมกิติ วันที่ 6 พ.ย.2474 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชโมลี

วันที่ 5 ธ.ค.2500 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพสิทธินายก

มรณภาพอย่างสงบ ด้วยโรคชราที่ โรงพยาบาลศิริราช ธนบุรี เมื่อวันศุกร์ที่ 15 ม.ค.2514 เวลา 04.45 น. สิริอายุ 87 ปี พรรษา 66


ประวัติพระเครื่องหลวงปู่นาค โสภโณ
สำหรับการเรียนเวทย์มนต์และวิปัสสนากรรมฐานนั้น ท่านได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์และศึกษากับ ๔ สมเด็จ ดังนี้

สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ฤทธิ์) วัดแจ้ง (ปัจจุบันเรียกว่า “วัดอรุณราชวรวิหาร”) ผู้เป็น อุปัชฌาย์ของหลวงปู่นาคนั่นเอง ท่านมีอาคมแก่กล้าในด้านทำเครื่องรางของขลัง โดยเฉพาะตะกรุดหน้าผากเสือ สำนักนี้ไม่เป็นสองรองใคร ครั้นพอท่านเรียนวิชานี้สำเร็จ การจะหาหนังเสือมาทำนั้นต้องไปฆ่าสัตว์ตัดชีวิตซึ่งมันบาปนัก ท่านจึงนำมาดัดแปลงลงในโลหะต่างๆ เช่น ทองคำ เงิน นาค ทองแดง อลูมิเนียมและตะกั่ว ลักษณะการลงและบริกรรมคาถากำกับในตัวตระกรุด ท่านก็จะทำไว้ให้มีฤทธิ์อยู่หลายแบบ เช่นดอกนั้นเด่นด้านคงกระพัน ดอกนี้เด่นด้านค้าขาย เมตามหานิยม ดอกนู้นเน้นด้านมหาอุต ซึ่งในสมัยนั้นใครที่เข้าไปขอ ท่านก็จะเมตตาหยิบให้พร้อมอธิบายวิธีการใช้ให้
(สำหรับวัดแจ้งหรือวัดอรุณนี้ จะมีอ้างในส่วนของ ตอนที่๓:พระพิมพ์ในวัดแต่มีออกนอกวัด)

๒.สมเด็จ พระสังฆราช(แพ) วัดสุทัศน์ราชวรวิหาร สมัยนั้น ดำรงค์สมณศักดิ์เป็นพระธรรมโกษาจารย์ ซึ่งเป็นพระอนุสาวนาจารย์(พระคู่สวด)ในสมัยที่หลวงปู่นาคบวชเป็นพระภิษุนั่น เอง หลวงปู่นาคได้รับการถ่ายทอดและศึกษาวิชาการลงยันต์ ๑๐๘ ชนิดครบสูตรในการลงยันต์เททองพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ ซึ่งเป็นตำหรับวิชาสุดยอดของการสร้างพระกริ่งในสายวัดสุทัศน์นี้
(สำหรับ วัดสุทัศน์ หากตามประวัติจะทราบว่า หลวงปู่นาคท่านจะสนิทกับพระครูมูล ซึ่งโยงถึงกันได้ว่าเป็นศิษย์ร่วมรุ่นเดียวกันนั่นเอง เกจิ ๒ ท่านนี้ไปมาหาสู่กันบ่อยครั้งครับ จึงไม่แปลกที่พระสมเด็จของพระครูมูลถึงได้มีมวลสารพระสมเด็จเก่าของวัดระฆัง ไปผสมกันเป็นจำนวนมาก และบางครั้งก็พบว่าพิมพ์สมเด็จมีหน้าตาและพิมพ์พระเกศบัวตูมของพระครูมูลมี มาปรากฎในแบบแม่พิมพ์ที่หลวงปู่นาคท่านกดพระด้วยครับ จะมีไปขยายความกันในตอนที่๓:พระใน-นอก พิมพ์)

๓.สมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์(ม.ร.ว.เจริญ อิศรางกุล ณ อยุธยา) ในสมัยที่ท่านดำรงสมณศักดิ์เป็น พระธรรมไตรโลกาจารย์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆัง สืบต่อจากสมเด็จพระพุทธบาทปิลันท์ (ม.ร.ว.ทัศน์ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา)
เป็น ที่ทราบกันดีอยู่แล้วนะครับว่า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ) ท่านเป็นศิษย์องค์สุดท้ายของสมเด็จพุทธจารย์โต ในสมัยบั้นปลายชีวิตสมเด็จโต สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ) ท่านได้เรียนสำเร็จวิชาการทำผงวิเศษจากสมเด็จโตและเป็นกำลังสำคัญในการลบและ จัดทำผงวิเศษทั้ง๕ชนิด เพื่อถวายให้สมเด็จโตสร้างพระวัดระฆังฯรุ่นแรก มาถึงยุคที่ท่านเป็นพระอาจารย์ให้หลวงปู่นาค ท่านก็สอนการทำผงนี้ให้จนสำเร็จครบหลักสูตรเช่นกัน ดังนั้นพระสมเด็จที่หลวงปู่นาคท่านสร้างจึงเป็นพระที่มีสูตรการสร้างเหมือน กับพระสมเด็จวัดระฆังรุ่นแรกนั่นเอง

๔.สมเด็จ พระสังวรนุวงศ์เถร(ชุ่ม) วัดราชสิทธาราม(วัดพลับ) เกจิท่านี้เป็นอาจารย์สอนวิปัสสนาให้กับหลวงพ่อพริ้ง วัดบางประกอกนั่นเอง หลวงปู่นาคก็ได้มาเรียนวิปัสสนากรรมฐานที่สำนักนี้จนสำเร็จเช่นกัน
หลังจากที่ สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ (เจริญ) ท่านมรณภาพแล้ว หลวงปู่นาคก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาส วัดระฆังโฆษิตาราม องค์ที่๙

ราคาปัจจุบัน
7,500
จำนวนผู้เข้าชม
72 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0843200110
ID LINE
kochalermpol
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี